March 2, 2017

Ao Nang (Ao Phra Nang), Krabi,Thailand

Ao Nang (Ao Phra Nang), Krabi,Thailand                        
อ่าวนาง กระบี่   







Ao Nang Situated some 20 km. from town, Ao Nang’s white sandy beach stretches to the foot of a prominent limestone range. Beachfront accommodation is available and other facilities include diving shops, boats for rent and sightseeing by kayaking. From Ao Nang, tourists may hire boats to visit nearby attractions such as Hat Rai Le, Tham Phra Nang located on the land to the east of Ao Nang, as well as other offshore isles such as Ko Poda, Ko Kai, Ko Mo and Ko Thap.

credit :  www.tourismthailand.org


February 28, 2017

Wat Chanasongkhram Ratchaworamahawiharn วัดชนะสงคราม ราชวรมหาวิหาร

Wat Chanasongkhram Ratchaworamahawiharn, Thailand  
วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร    






Wat Chanasongkhram Ratchaworamahawiharn   
This Temple is an old monastery which was built before the first reign of Rattanakosin (before 1782).  The former name is Wat Klangna (Temple in the paddy field).  In the reign of King Rama I, 
Somdet Phra Bowonratchao Mahasurasinghanat (The Viceroy in King Rama I's Reign) Granted Mon people and Monks to lived in the area, renovated the temple to be residence of Mon Monks.  Later, King Rama I gave the new name Tong Pu (name of a town in Myanmar) after the name of Mon Temple in Ayutthaya and Lopburi.  In the reign of King Rama I, The temple became a center of Mon Sect of Buddhism as he awarded to mon soldiers who formed major troop in war with Burmese.  After the war, the temple was restored and made the Royal Temple, and then renamed again to be Chanasongkhram which means victory of war, as Thai gained victory over Burmese for three times between 1785-1787.

วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร
เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดโบราณขนาดเล็กเรียกกันว่า วัดกลางนา เพราะตั้งอยู่กลางทุ่งนา ต่อมาสมัยรัชการที่ 1 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ทรงรวมชาวรามัญ และพระสงฆ์รามัญที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ให้มาตั้งบ้านเรือนอาศัยอยู่รอบวัด และให้ก่อนสร้างปฏิสังขรณ์วัด เพื่อให้พระสงฆ์รามัญได้จำพรรษา แล้วตั้งนามใหม่ว่า วัดตองปุ โดยได้ลอกเลียนนามวัด และขนบธรรมเนียมของวัดในกรุงศรีอยุธยาและลพบุรี ซึ่งเป็นวัดที่มีพระสงฆ์รามัญจำพรรษาอยู่มาใช้ ต่อมารัชกาลที่ 1 ทรงโปรดให้ วัดตองปุ เป็นวัดของสงฆ์ฝ่ายรามัญ เพื่อเป็นการตอบแทนคุณงามความดีแก่ทหารรามัญในกองทัพ ที่เป็นกำลังสำคัญในการรบกับพม่า หลังจากบ้านเมืองสงบสุข ไม่มีศึกกับพม่าแล้ว ทรงสถาปนาวัดใหม่ทั้งหมดอีกครั้งหนึ่ง แล้วน้อมเกล้าฯ ถวานเป็นพระอารามหลวง ต่อมารัชการที่ 1 ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ตามเหตุการณ์ ซึ่งทำการรบเอาชนะพม่าได้ถึง 3 ครั้ง ระหว่างปี พ.ศ. 2328-2330 ว่า วัดชนะสงคราม


February 21, 2017

PHRA NAKHON KHIRI (KHAO WANG) พระนครคีรี (เขาวัง)

PHRA NAKHON KHIRI HISTORICAL PARK, Thailand 
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี         




Phra nakhon Khiri Palace (Holy City Hill), commonly know as KHAO WANG in Phetchaburi Province, Thailand, the celestial city on the mountain, is located on the three peaks of 95 meter high hill.  It was built in the reign of King Rama IV (King Mongkut) to become his summer place
with construction finished in 1860.



Phra Thinang Wechayan Wichien Prasat
พระที่นั่งเวชยันต์วิเชียรปราสาท




Chatchawan Wiangchai Observatory
หอชัชวาล เวียงชัย

The Western Peak, The Easter Peak




อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เรียกกันทั่วไปว่า “เขาวัง” 
เดิมเป็นพระราชฐานที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ 
ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2402 เป็นพระราชวังแห่งแรกที่สร้างบนภูเขาสูง ซึ่งเป็นยอดเขาใหญ่สามยอดติดต่อกัน ยอดเขาด้านทิศตะวันออกบริเวณไหล่เขาเป็นที่ตั้งของวัดมหาสมณาราม ส่วนบนยอดเขาเป็นที่ตั้งของวัดพระแก้ว ซึ่งเป็นวัดประจำพระราชวังพระนครคีรี เขายอดกลางประดิษฐานพระธาตุจอมเพชร ส่วนยอดเขาด้านทิศตะวันออกเป็นพระราชวัง มีป้อมล้อมทั้ง 4 ทิศ ซึ่งบางส่วนได้จัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครคีรี 
ลักษณะทางสถาปัตยกรรมส่วนใหญ่เป็นแบบตะวันตกผสมกับแบบจีน



December 11, 2016

Bangkok City Hall ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร








BANGKOK CITY HALL
Krung Thep Mahahakhon was initially called BANGKOK.  It wasestablished as the capity city of Thailand in 1782 by King Phutthayotfa Chulalok the great, King Rama I.  The year H.M. King Ascended to the Throne.

In the past, Bangkok was a province under a modified monthon system, named KRUNG THEP PROVINCE, until on the 22nd December 1971 the government merged Bangkok Province and Thon Buri Province into a single province called KRUNG THEP AND THON BURI METROPOLIS, later, on the 14th December 1972 its name was changed to BANGKOK METROPOLITAN ADMINISTRATION (BMA), but people preferably called BANGKOK, BANGKOK METROPOLITAN Administration devided into 50 administration districts with the total area of 1,568.7 square kilimeters.

The area of present Bangkok City Hall used to be Sao Chingcha Market before, it was demolished when Bangkok municipality moved to establish here in 1941.  The architectural of the building is Thai Modified style, to be in line with the nationalish policy of field Mashal P.Phibunsongkhram.
Thai style, Infront of the Building there is Bangkok, Metropolitan Administration's emblem shows Indra, seated Atop Erawan elephant the means Bangkok is the city of Indra.  Besides, the specific colour of BMA is green which is aboys' colour of Indra.  

ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมาหนคร เดิมเรียกกันว่า บางกอก ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ในปีที่พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ พ.ศ. 2125

ก่อนหน้านั้น กรุงเทพมหานคร เคยมีฐานะเป็นจังหวัดขึ้นกับมณฑลกรุงเทพฯ เรียกว่า จังหวัดพระนคร จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2515 รัฐบาลได้รวมจังหวัดพระนครและธนบุรีเข้าด้วยกันเป็น นครหลวงกรุงธนบุรี และต่อมา เมือวันที่ 14 ธันวาคม 2515 ได้เปลี่ยนเป็น กรุงเทพมหานคร แต่ประชาชนทั่งไปนิยมเรียกกันว่า กรุงเทพฯ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 50 เขต มีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.7 ตารางกิโลเมตร

บริเวณที่ตั้งของ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ในปัจจุบัน เดิมเคยเป็น ตลาดเสาชิงช้า มาก่อน ซึ่งได้ถูกรื้นทิ้งไปเมื่อ เทศบาลนครกรุงเทพฯ ได้ย้ายมาสร้างที่ทำการแห่งใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2484 รูปแบบของอาคารมีลักษณะสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ ซึ่งเป็นไปตามนโยบายชาตินิยมของจองพล ป. พิบูลสงคราม โดยผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมไทยและตะวันตกสมัยใหม่ คือตัวอาคารมีขนาดใหญ่ ยาว และแคบ ขณะที่หลังคาซ้อนชั้น และลดชั้นแบบไทย  ด้านหน้าอาคารติดตราสัญลักษณ์ของ กรุงเทพมหานคร เป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ซึ่งหมายถึง กรุงเทพฯเป็นเมืองของพระอินทร์ นอกจากนี้สีประจำของกรุงเทพฯ คือ สีเขียว ซึ่งเป็นสีของพระอินทร์





December 9, 2016

Wat Suthat and The Giant Swing



Wat Suthat and The Giant Swing
Bamrung Muang Road, Bangkok (called Sao Ching Cha)

The Giant Swing stands in front of Wat Suthat.