BANGKOK CITY HALL
Krung Thep Mahahakhon was initially called BANGKOK. It wasestablished as the capity city of Thailand in 1782 by King Phutthayotfa Chulalok the great, King Rama I. The year H.M. King Ascended to the Throne.
In the past, Bangkok was a province under a modified monthon system, named KRUNG THEP PROVINCE, until on the 22nd December 1971 the government merged Bangkok Province and Thon Buri Province into a single province called KRUNG THEP AND THON BURI METROPOLIS, later, on the 14th December 1972 its name was changed to BANGKOK METROPOLITAN ADMINISTRATION (BMA), but people preferably called BANGKOK, BANGKOK METROPOLITAN Administration devided into 50 administration districts with the total area of 1,568.7 square kilimeters.
The area of present Bangkok City Hall used to be Sao Chingcha Market before, it was demolished when Bangkok municipality moved to establish here in 1941. The architectural of the building is Thai Modified style, to be in line with the nationalish policy of field Mashal P.Phibunsongkhram.
Thai style, Infront of the Building there is Bangkok, Metropolitan Administration's emblem shows Indra, seated Atop Erawan elephant the means Bangkok is the city of Indra. Besides, the specific colour of BMA is green which is aboys' colour of Indra.
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมาหนคร เดิมเรียกกันว่า บางกอก ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 ในปีที่พระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ พ.ศ. 2125
ก่อนหน้านั้น กรุงเทพมหานคร เคยมีฐานะเป็นจังหวัดขึ้นกับมณฑลกรุงเทพฯ เรียกว่า จังหวัดพระนคร จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2515 รัฐบาลได้รวมจังหวัดพระนครและธนบุรีเข้าด้วยกันเป็น นครหลวงกรุงธนบุรี และต่อมา เมือวันที่ 14 ธันวาคม 2515 ได้เปลี่ยนเป็น กรุงเทพมหานคร แต่ประชาชนทั่งไปนิยมเรียกกันว่า กรุงเทพฯ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 50 เขต มีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.7 ตารางกิโลเมตร
บริเวณที่ตั้งของ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ในปัจจุบัน เดิมเคยเป็น ตลาดเสาชิงช้า มาก่อน ซึ่งได้ถูกรื้นทิ้งไปเมื่อ เทศบาลนครกรุงเทพฯ ได้ย้ายมาสร้างที่ทำการแห่งใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2484 รูปแบบของอาคารมีลักษณะสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ ซึ่งเป็นไปตามนโยบายชาตินิยมของจองพล ป. พิบูลสงคราม โดยผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมไทยและตะวันตกสมัยใหม่ คือตัวอาคารมีขนาดใหญ่ ยาว และแคบ ขณะที่หลังคาซ้อนชั้น และลดชั้นแบบไทย ด้านหน้าอาคารติดตราสัญลักษณ์ของ กรุงเทพมหานคร เป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ซึ่งหมายถึง กรุงเทพฯเป็นเมืองของพระอินทร์ นอกจากนี้สีประจำของกรุงเทพฯ คือ สีเขียว ซึ่งเป็นสีของพระอินทร์
No comments:
Post a Comment